อาหารภาคกลาง อาหารพื้นบ้าน กับข้าวง่ายๆ อาหารไทย 4 ภาค อาหารภาคกลาง อาหารไทยพื้นเมืองของชาวภาคกลาง เอกลักษณ์ของอาหารภาคกลาง ความหลากหลายของรสชาติ เมนูน้ำพริก เมนูกะทิ เมนูผักสด เมนูปลา ครัวไทย ทำกินเองที่บ้านได้
อาหารภาคกลาง คือ อาหารไทย อาหารพื้นเมือง อาหารภาคกลางมีอะไรบ้าง เอกลักษณ์ของอาหารพื้นเมือง ภาคกลาง ความหลากหลายของรสชาติ เมนูน้ำพริก เมนูกะทิ เมนูผักสด เมนูปลา เมนูหมู เมนูเห็ด เมนูเป็ด เมนูไก่ ครัวภาคกลาง เรียก ครัวไทย สามารถทำกินเองที่บ้านได้
เราจึงได้รวบรวมสูตรอาหารของภาคกลาง มาเสนอต่อท่าน อาหารในภาคกลางมีอะไรบ้าง อาหารภาคกลางทำอย่างไร สูตรอาหาร เมนูง่ายๆ มาเสนอต่อท่าน
- ข้าวแช่
- มะระผัดไข่เค็ม
- ไส้อ่อนทอดกระเทียมพริก
- ไทย
- ข้าวเหนียวปิ้งไส้กุ้ง
- ไก่ผัดเปรี้ยวหวาน
- ปลานิลลุยสวน
- ไข่ดาวลูกเขย
- ผัดกระเพราไก่
- น้ำพริกกะปิกุ้งแห้ง
- มะระอบไอน้ำ
- ยำเนื้อปูอโวคาโด
- ปลาทับทิมผัดขมิ้นขาว
- แกงกะทิสายบัวปลาทู
- ดอกขจรผัดไข่กุ้งสด
- ข้าวผัดน้ำพริกเผา
- กระเจี๊ยบผัดเกลือ
- หมูย่างดอกดาหลา
- แกงคั่วพริกซี่โครงหมูอ่อน
- ผัดมะระปลาเค็ม
- ปลาช่อนจู่ขิง
- กุ้งมังกรราดซอสข่า
- ขนมเรไรหน้าปู
- แกงไข่ไล่ทุ่ง
- ยำดอกขจรกุ้งสด
- แกงรัญจวน
- ไก่นึ่งซีอิ้ว
- แกงชักส้มดอกมะขามอ่อน
- แกงคั่วหน่อไม้ซี่โครงหมู
- ปลากะพงนึ่งมะนาว
- ปลากระพงทอดราดกะทิทรงเครื่อง
- ทอดมันปลากราย
- แกงจืดฟักซี่โครงหมู
- ขนมจีนน้ำพริก
- ทอดมันหัวปลี
- น้ำพริกปลาร้าทรงเครื่อง
- ต้มข่าหัวปลี
- กะปิหลน
- แกงเลียงกะทิสด
- ผัดเผ็ดหมูป่า
- ผัดคะน้าหมูกรอบ
- ต้มจืดมะระซี่โครงหมู
- ยำดอกอัญชันหมูสับ
- เมี่ยงตะไคร้
- แกงบวดมันม่วง
- ไก่อบเต้าเจี้ยว
- น้ำพริกสุโขทัย
- น้ำพริกหมูกรอบ
- น้ำพริกขี้กา
- หมูทอดกะปิ
- หมูกรอบผัดกุยช่าย
- กุ้งผัดไข่
- หอยแมลงภู่อบสมุนไพร
- ไข่คั่วกุ้ง
- ไข่เจียวกระเทียมดอง
- ไข่เจียวหมูสับหน่อไม้
- น้ำพริกกล้วยดิบ
- น้ำพริกปลาป่น
- น้ำพริกมะเขือพวง
- แกงคั่วมะระปลาดุก
- มะพร้าวแก้ว
- แกงป่าปลาช่อน
- ไข่ดาวสามรส
- ต้มยำปลาช่อนใบมะขามอ่อน
- ข้าวผัดอเมริกัน
- ยำหูหมู
- ยำชะอมทอดกรอบ
- ไข่อบชีสพริกหยวก
- แกงจืดเต้าหู้ไข่ม้วน
- ผัดต้นอ่อนทานตะวัน
- ปลากระพงนึ่งซีอิ้ว
- เป็ดพะโล้
- ผัดเปรี้ยหวานหมู
- ราดหน้าฮ่องกง
- เนื้อตุ๋นหม้อดิน
- เต้าหู้คลุกไข่เค็ม
- ปูผัดพริกไทยดำ
- ไก่ทอดบอนชอน
- น้ำเต้าหู้ใบเตย
- ข้าวผัดต้มยำกุ้ง
- ฟักทองสังขยา
- หมี่ซั่ว
- ปลาเก๋าลวกจิ้ม
- ต้มโคล้งทะเล
- ไก่บ้านต้มระกำ
- ไชโป้วผัดไข่
- ผัดกระเพราไข่เยี่ยวม้า
- ผัดถั่วงอกเต้าหู้หมูสับ
- น้ำพริกกลางดง
- ส้มตำกรอบ
- ไส้อ่อนผัดพริกเกลือ
- แกงเทโพหมู
- แสร้งว่ากุ้ง
- ยำผักกูด
- ผัดผักบุ้งไฟแดง
- แกงป่าหมู
- น้ำพริกไข่เค็ม
- น้ำพริกปลาย่าง
- น้ำพริกมะขามเปียก
- ผัดพริกแกงไก่มะละกอ
- ผัดไทยทะเล
- ส้มตำไทย
- ไข่ลูกเขย
- ปลากระพงทอดน้ำปลา
- ต้มยำกุ้ง
- ผัดผักรวมมิตร
- แกงเผ็ดเป็ดย่าง
- ห่อหมกทะเล
- หมูมะนาว
- ผัดเผ็ดหมู
- ผัดกระเฉดหมูกรอบ
- ผัดเปรี่ยวหวาน
- พะแนงเนื้อ
- ห่อหมกมะพร้าวอ่อน
- ต้มข่าไก่
- น้ำพริกกะปิกุ้งแห้ง
- แกงเลียงกุ้งสด
- แกงเขียวหวานไก่
- ต้มเค็มฟักกับหมูสามชั้น
- หมูผัดแกงเขียวหวาน
- ปลาช่อนทอดราดน้ำปลา
- ปลาหมึกทอดราดพริก
- ก๋วยเตี๋ยวเรืออยุธยา
- ยำไข่ดาว
- ต้มยำปลาทู
- น้ำพริกปูม้า
- ยำไหลบัวกุ้งสด
- แกงเผ็ดกล้วยดิบ
- แกงเผ็ดไก่ฟักทอง
- ส้มตำไหลบัว
- ทอดมันกุ้ง
- น้ำพริกพริกไทยสด
- หมูสามชั้นทอดพริกแกง
- กุ้งผัดไข่เค็ม
- ไข่ผัดเห็ดหอมเต้าหู้อ่อน
- ไข่ตุ๋นนมสด
- เต้าส่วน
- ต้มยำไข่เจียว
- น้ำพริกกุ้งป่น
- น้ำพริกเต้าหู้ยี้
- น้ำพริกกากหมู
- กะหล่ำปลีทอดน้ำปลา
- น้ำพริกปลาสลิด
- แกงส้มปลาช่อนผักรวม
- ยำไส้กรอก
- โจ๊กปลาเก๋า
- ไก่ต้มน้ำปลา
- ข้าวผัดปลากระป๋อง
- ปลาแซลมอนผัดพะโล้
- หมูทอด
- ข้าวมัน
- ราดหน้าเจ
- บะหมี่แห้งผัดกระเพราหมูสับ
- ไก่แป๊ะซะ
- กระเพาะปลาน้ำแดง
- เคาหยก
- บะกุ๊ดเต๋
- กุ้งกระจก
- ข้าวอบปลาเค็ม
- ปูม้าทอดกระเทียมพริกไทย
- หลนปู
- ห่อหมกมะพร้าวอ่อน
- ไข่เจียวต้นอ่อนทานตะวัน
- ส้มตำไข่ฟู
- ปลากระพงผัดพริกไทยดำ
- ปลาสลิดผัดพริกแกง
อาหารไทยภาคลาง ภาคกลางของประเทศไทย เป็นพื้นที่ที่มีภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่มมี 3 ฤดู มีความสมบูรณ์ทางอาหาร ทำอาชีพหลักของคนภาคกลางจะเป็นเกษตรกร ทุกครัวเรือนจะนิยมทำอาหารกินเอง อีกทั้งภาคกลางเป็นพื้นที่ของเมืองหลวง ประชากรในพื้นที่มีการส่งบุตรหลานเข้าวัง เรียนรู้งานต่างๆ ลักษณะความปราณีตของอาหาร ความหลายหลายในการปรุงรสชาติ จึงมีให้เห็นในอาหารภาคกลาง
ความสำคัญของ อาหารภาคกลาง
อาหารภาคกลาง อาหารไทยของคนภาคกลาง มีคุณค่าทางอาหารสูง และ ยังเป็นดัชนีชี้วัด ความเจริญทางวัฒนธรรม เศรษฐกิจ และ สังคม ของพื้นที่ภาคกลางของไทย ภาคกลางมีชนชาติต่างๆหลากหลายมาอาศัยในพื้นที่นี้ การถ่ายทอดความรู้ การพัฒนาความรู้ จึงเป็นการแสดงถึงความเจริญของประเทศไทยด้วย
ลักษณะของอาหารท้องถิ่นของภาคกลาง
เราสามารแบ่งลักษณะของอาหารท้องถิ่นของภาคกลางได้ ตามลักษณะต่างๆ ประกอบด้วย รสชาติ ลักษณะหน้าตาของอาหาร กลิ่นและสี และเครื่องเคียง โดยรายละเอียด ดังนี้
รสชาติ อาหารภาคกลาง โดยทั่วไปจะมี 3 รสชาติ หลักๆ คือ หวาน เค็ม และ เปรี้ยว จะมีรสชาติ เผ็ด มัน และ ขม บ้างในบาง เมนูอาหาร
หน้าตาของอาหาร ลักษณะของอาหารภาคกลาง เป็นพื้นที่ทีมีความอุดมสมบูรณ์ เป็นที่ตั้งของเมืองหลวง อาหารจะมีการประดิษฐ์ประดอย การตกแต่งอาหาร ให้มีความสวยงาม
กลิ่นและสีของอาหารภาคกลาง กลิ่นอาหารนั้นจะหอม จากพริกแกง ซึ่งเป็นเครื่องเทศที่มีสมุนไพรต่างๆ มากมาย
เครื่องเคียงของอาหารภาคกลาง ด้วยความอุดมสมบูรณ์ของท้องถิ่น อาหารจึงนิยมทานคู่กับผักสดต่างๆ มากมาย จึงเป็นลักษณะที่เห็นได้ถึงความเด่นชัด
รวมสูตรอาหารประจำภาคกลาง อาหารท้องถิ่นภาคกลางมีอะไรบ้าง เมนูอาหารไทยภาคกลาง สูตรอาหารไทย สอนทำอาหาร เมนูน้ำพริก กะทิ ผักสด ปลา หมู เห็ด เป็ด ไก่ ครัวภาคกลางมีอะไรบ้าง
การปรุงอาหารและการตกแต่งจานให้สวยงาม เป็นลักษณะเด่นของอาหารภาคของกลาง ซึ่งภาคกลางของประเทศไทย เป็นภูมิภาคที่มีจังหวัดน้อยใหญ่จำนวนมาก ภาคกลางเป็นภูมิภาค ที่มีพื้นที่ทางภูมิศาสตร์เป็นที่ราบลุ่มแม่น้ำ จึงมีความอุดมสมบรูณ์ทางอาหาร ภาคกลางจึงมีความหลากหลายของอาหารมากมาย
อาหารพื้นบ้านของภาคกลาง
เป็นอาหารที่มีลักษณะผสมผสานกันหลายรส เรียกว่าครบรส ไม่ว่าจะเป็น เปรี้ยว หวาน มัน เค็ม และเผ็ด มากมายไปด้วยเครื่องเทศ สมุนไพรนานาชนิด และกะทิ ที่เพิ่มความมัน อาหารภาคกลาง ค่อนข้างจะเป็นอาหารที่ ถูกปากชาวต่างชาติเสมอ ไม่ว่าจะเป็น แกงเขียวหวาน ผัดไท ต้มยำ เป้นต้น อาหารของภาคกลาง เมนูเด่นอร่อยๆ หลากหลายเมนูไม่ว่าจะเป็น ต้ม ผัด แกง ทอด นึ่ง ปิ้งย่าง เราได้นำมาแนะนำให้ท่าน พร้อมด้วยส่วนผสมและขั้นตอนการทำอย่างละเอียด อ่านเข้าใจง่าย และยังมีเคล็ดต่างๆ ที่ทำให้รสชาติของอาหาร แตกต่างจากคนอื่นๆอย่างถึงใจ
อาหารภาคกลาง นั้นเป็นอาหารที่มีความหลากหลายทางด้านรสชาติ และมีการใช้กะทิและเครื่องแกงมากที่สุด อาหารของภาคกลาง เมนูเด่นๆ อร่อยๆ หลากหลายเมนู เช่น เมนูต้ม เมนูผัด เมนูแกง เมนูทอด เมนูปิ้งย่าง น้ำพริก ต่างๆ จะมีส่วนผสม ที่เป็นเอกลักษณ์ของภาคกลาง เข้าใจง่าย
ภาคกลางของประเทศไทย มีเขตการปกครองทั้งหมด 22 จังหวัด ภาคกลางของประเทศไทย เป็นที่ราบลุ่มขนาดใหญ่ เป็นแหล่งเพาะปลูกข้าวที่สำคัญของประเทศ โดยมีแม่น้ำเจ้าพระยาเป็นเส้นเลือดใหญ่ นอกจากข้าวยังมีพืชผักอื่นๆอีกแทบทุกชนิด ภาคกลาง นับได้ว่าเป็นภาคที่มีความอุดมสมบูรณ์มากกว่าภาคอื่นๆ ถือได้ว่าภาคกลางเป็นอู่ข้าวอู่น้ำที่สำคัญของประเทศไทย เนื่องจากสภาพทางภูมิประเทศที่เป็นที่ราบลุ่ม
ลักษณะเด่นของอาหารพื้นบ้านภาคกลาง จะมีความหลายหลาย ซึ่งอาหารภาคได้รับอิทธิพลจากต่างประเทศมากและนิยมการประดิษฐ์จานอาหารให้น่ารับประทานโดยเฉพาะอาหารชาววัง และอีกหนึ่งเอกลักษณ์ของอาหารในภาคกลาง คือ เครื่องเคียง อาหารภาคกลาง